แมวทอง - สิงหราช เมื่อคนค้าไวน์คิดจะบินผยองมาค้าเหล้า
เพราะความผูกพันของคนกับเหล้าที่สืบต่อมาหลายชัวคนและยังคงยึดมั่นไม่เสี่ยมคลาย
จึงทำให้มูลค่าทางตลาดสูงขึ้นเป็นหมื่น ๆ ล้านบาทในแต่ละปี จนกลายเป็นปมเงื่อนในสงครามค้าเหล้าที่จะต้องหักหาญชิงชัยกันให้ถึงที่สุด
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2530)
ณรงค์ โชคชัยณรงค์ พ่อค้าเพชรผู้เกือบตายกับ "รีเจนซี่"
ความเป็นมาและที่กำลังจะเป็นไปของ "รีเจนซี่" บรั่นดีไทย เป็นเรื่องราวของลูกวัวที่ไม่เคยรู้ว่าแม่เสือนั้นรูปร่างเป็นอย่างไร
ดุร้ายน่าหวาดกลัวเพียงไหน จึงหาญกล้าเข้าไปคลุกเคล้าหยอกล้อราวกับว่าเป็นแม่ของตนต่อเมื่อผ่านพ้นและได้รู้ว่าสิ่งที่ตัวเองได้เคลียคลอนั้นคือแม่เสือร้าย
ก็อดถามตัวเองไม่ได้ว่า "แล้วมันรอดตายมาได้อย่างไรกัน"
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2530)
ขบวนการปล้นชาติ 15,000 ล้านบาท
ไม่เคยมีธุรกิจใดในประวัติศาสตร์ไทย ที่จะยุ่งวุ่นวาย และใช้อิทธิพลทุกรูปแบบไปจนกระทั่งเกี่ยวพันกับสถาบันการเงินถึง
7 แห่ง เหมือนธุรกิจเหล้าของกลุ่มสุราทิพย์
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2529)
ยุทธจักรน้ำเปลี่ยนนิสัย "กำลังขบกากน้ำตาลที่เททิ้ง"
อย่างไรก็ตามเรื่องการค้นคว้าของ ดร. จรูญ คำนวนตา ก็ใช่ว่าจะไม่มีผลชักจูงบรรดานักลงทุนและบุคคลในวงการแอลกฮอล์เสียเลยทีเดียว
แหล่งข่าวบริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ ซึ่งเป็นเจ้าของสินค้ายี่ห้อ "สิงห์"
ได้บอกกับ "ผู้จัดการ" ว่า "
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2529)
ตำนานเหล้าการเมือง "หงส์กระหายเลือด"
และแล้วสงครามเหล้าก็เกิดขึ้น แสงโสมที่ตอนหลังต้องกลายเป็นโสม การเข้าซื้อโรงงานสุราธาราวิสกี้ที่นครไชยศรี คือการวางแผนล่วงหน้าอันแยบยลของกลุ่มเถลิง
เมื่อพลาดจากการประมูลเข้าทำสุราแม่โขง แผนการถล่ม "แม่โขง" จึงเกิดขึ้นทันที
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2528)
คำสั่งและหนังสืออนุญาตของบัณฑิต
คำสั่งและหนังสืออนุญาตต่างๆ ของนายบัณฑิต ปุณยะปานะ ที่ช่วยกรมสุราทิพย์
และส่งผลกระทบกระเทือนถึงปริมาณการผลิตและจำหน่ายของสุราแม่โขงในช่วงที่ผ่านมา
และยังเป็นผลอยู่จนกระทั่งปัจจุบัน
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2528)
"มวลชนพัฒนา" แต่คงไม่ได้พัฒนาความคิดทหาร
"กงล้อประวัติศาสตร์ นั้นหมุนไปข้างหน้าเสมอ ไม่มีใครสามารถหมุนกงล้อให้ย้อนกลับถอยหลังได้ คงมีเพียงความคิดของคนเท่านั้นที่บางครั้งหยุดนิ่ง บางครั้งก็ถอยหลังเข้าคลอง
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2528)
กว่าจะมาเป็นแม่โขง
แม่โขงที่โรงงานสุราบางยี่ขัน ซึ่งตั้งอยู่ที่ปากคลองบางยี่ขัน ริมแม่น้ำเจ้าพระยาฝั่งตะวันตก
ในท้องที่แขวงบางปูน เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร อันเป็นโรงงานที่มีประวัติเก่าแก่คู่บ้านคู่เมืองมาตั้งแต่ครั้งเริ่มสร้างกรุงเทพมหานคร
ซึ่งเคยเรียกกันว่ากรุงรัตนโกสินทร์
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2527)