การปฏิวัติในรอบ 60 ปีของไอบีเอ็ม
เมื่อไอบีเอ็มจะไม่มีผลิตภัณฑ์ที่เรียกว่า เมนเฟรม เอเอส 400 หรือริกส์ 6000 อีกต่อไป จะมีเพียงคำว่า e-server
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2543)
บิลล์ เกตส์ สูงสุดคืนสู่สามัญ!?
"ผมเป็นพวกพาซื่อ มีทัศนะแบบ คนหนุ่มที่คิดเพียงแต่บริหารบริษัท ผลิตงานชั้นเยี่ยม นั่นคือสิ่งที่ต้องรวมศูนย์ความสนใจ...มีเรื่องทางธุรกิจที่ต้องทำเยอะไปหมด ผมไม่รู้ว่า สิ่งหนึ่งที่ ต้องตรวจดู คือคุณอาจโดนเล่นงานจากรัฐบาลของคุณเอง ในสิ่งที่คุณคิดค้นขึ้นมา"
ผู้ที่พูดประโยคข้างต้นนี้ คือบิลล์ เกตส์ (Bill Gates) หนึ่งในผู้ก่อตั้งบริษัทไมโครซอฟท์ บริษัทที่ใหญ่ที่สุดในโลก ซึ่งทำให้เขากลายเป็นผู้ที่ได้ชื่อว่ารวยที่สุดในโลก และตามด้วยการเป็นคนใจบุญที่สุดในโลก...
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2543)
การกลับมาอีกครั้งสหวิริยาโอเอ
ทิศทางการดำเนินงานและการปรับโครงสร้างกิจการของสหวิริยาโอเอ ภายหลังแผนฟื้นฟูกิจการได้รับอนุมัติจากเจ้าหนี้ ที่มีมูลหนี้ทั้งสิ้นประมาณ 7000 ล้านบาท
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2543)
"แอปเปิ้ลเวิลด์ 99" ชุมชนชาวแมคอินทอช
จบไปแล้วสำหรับงานแอปเปิ้ล-เวิลด์"99 งานประจำปีของบรรดาชาวแมค อินทอช
ที่จะมาชุมนุมเพื่อแนวโน้มใหม่ๆ ของเทคโนโลยี ยอดผู้เข้าชมงานในปีนี้ยังคงตัวเลขผู้ชม
8,000 ราย ใกล้เคียงกับปีที่แล้ว
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2542)
คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ตอนที่ 1
ผมเป็นผู้หนึ่งที่เกาะติดกับวงการคอมพิวเตอร์มาเป็นเวลานาน และเป็นเรื่องปรกติที่เพื่อนฝูงญาติพี่น้องจะมาปรึกษาเรื่องจะ
ซื้อคอมพิวเตอร์มาใช้ ไม่นานมานี้ผมให้คำปรึกษากับเพื่อนนักธุรกิจคนหนึ่ง (โดยไม่คิดมูลค่า)
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2542)
ไอบีเอ็มเบนเข็ม รุกตลาดบริการ
ขณะนี้ยักษ์ใหญ่ในวงการคอมพิวเตอร์อย่างไอบีเอ็ม
หรือที่รู้จักกันในฉายา
"บิ๊ก บลู" ได้หันมาให้ความสำคัญกับการให้บริการมากกว่าเรื่องฮาร์ดแวร์เสียแล้ว
ปรากฏการณ์นี้ถือเป็นหัวใจสำคัญต่อการเปลี่ยนแปลง
นโยบายของลู เกิร์สต์เนอร์ และต่ออนาคตของไอบีเอ็มโดยตรง
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2542)
แจ๊ค มินทร์ อิงค์ธเนศ เข็นครกขึ้นภูเขา
สองสามปีที่ผ่านมาสำหรับชายชื่อแจ๊คแล้ว มันต่างกันคนละเรื่องกับเมื่อ 10
ปีที่แล้ว แจ๊คเคยเป็นแบบฉบับของนักธุรกิจสร้างตัวจนเติบใหญ่กลายเป็นผู้ค้าส่งคอมพิวเตอร์รายใหญ่ของไทย
มาวันนี้แจ๊คต้องรับผิดชอบหนี้สินก้อนโต 7,897 ล้านบาทของสหวิริยา โอเอ เป็นหนี้ที่เกิดจากการขยายธุรกิจเกินตัว
ความหวังเดียวของเขาคือดึงต่างชาติมาซื้อหุ้น จาร์ดีน-เอเซอร์-เอปซอน จะเป็นยาขนานวิเศษที่ทำให้สหวิริยาโอเอพ้นจากมรสุมลูกนี้หรือไม่
ยังเป็นคำถามที่ไม่มีคำตอบ?
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2542)
'เมโทร' ทวนกระแส ไม่กลัวเศรษฐกิจตกต่ำ
จากพื้นเพเดิมที่เป็นกิจการในเครือบริษัทขายปุ๋ย มาวันนี้บริษัท เมโทร ซิสเต็มส์ คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) เติบโตอย่างน่าสนใจ เป็นคู่ค้าที่มีลีลา "ไอบีเอ็ม สไตล์" แต่ก็เด็ดเดี่ยวและอิสระจนไอบีเอ็มเกรงใจอย่างมาก เรื่องราวของบริษัทนี้ถูกพูดถึงเสมอในหมู่ดิสทริบิวเตอร์ในกลุ่มอาเซียน อย่างไรก็ดี ในยามเศรษฐกิจตกต่ำ ดูเหมือนเมโทรจะจำกัดตัวเองไม่ได้อีกต่อไปแล้ว ปัญหามาร์จินตกต่ำกำหนดให้เมโทรกล้าสวมบทบาทพระเอกจำเป็น โดยสยายปีกไปทุกทิศทุกทาง
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2540)
เมโทรชี้ "เดลคอมพิวเตอร์ ไม่น่ากลัว"
สงครามการจัดจำหน่ายคอมพิวเตอร์ มีความเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา จากรูปแบบซับซ้อน
กลายเป็นสินค้าที่ค้าขายกันเหมือนสินค้าคอนซูเมอร์มากขึ้น สามารถวางตามซูเปอร์สโตร์
กระทั่งห้างสรรพสินค้า เริ่มมีการจัดจำหน่ายโดยดิสทริบิวเตอร์ระดับภูมิภาค
และด้วยวิธีการขายตรง "การตลาดนี่ไม่มีกลยุทธ์ไหนชนะ 100% ไม่มีโมเดลธุรกิจเพียงอย่างเดียว
ซึ่งทำให้ได้ชัยชนะ ถึงอย่างไรก็ต้องมีที่เล่น มีช่องว่างที่คนมองไม่เห็นอีกมาก"
ธวิชกล่าว
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2540)
เมโทรแคมปัส ชีวิตใหม่
"คุณธวิชทำไมคุณถึงกล้าลงทุนอย่างนี้"
คนของไอบีเอ็มออกจะทึ่งอยู่ไม่น้อย เมื่อเมโทรฯ ทุ่มทุนมหาศาลให้แคมปัสหรือสำนักงานใหม่ทันสมัยที่สุด
"เศรษฐกิจตกต่ำอย่างนี้ ผมยิ่งต้องลงทุน เพราะพอเศรษฐกิจดี ผมก็นำหน้าคนอื่น
ซึ่งเพิ่มเริ่มต้น" ธวิชตอบเสียงดังฟังชัด คนฉลาดย่อมต้องถือเสียว่า วันพรุ่งนี้คือชีวิตใหม่ ออฟฟิศใหม่ของเมโทรฯ
ออกจะให้บรรยากาศของวันนี้ และพรุ่งนี้ที่งดงามอย่างมาก
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2540)