ยาดองครองใจวัยรุ่น
เหล้าสมุนไพร rJägermeiste (เยเก้อร์ไมสเตอร์) สมัยแรกเริ่มออกสู่ตลาดเมื่อปี ค.ศ. 1934 เป็นที่นิยมดื่มในหมู่ผู้ชายวัยกลางคน แต่เพื่อรีแบรนด์ขยายกลุ่มลูกค้าเป้าหมาย จึงโหมทำตลาดกับกลุ่มนักดื่มวัย 18-29ปีเป็นพิเศษ
( 10 พฤษภาคม 2554)
FEDERBRAU แหวกฟ้าหวังคว่ำดาว
ค่ายไทยเบฟฯ ถือว่าเป็นผู้ที่วนเวียนทำเบียร์ตลาดบนมาหลายแบรนด์ แต่ยังไม่เข้าเป้าที่ต้องการเท่าไร เพราะผ่านมา 3 ปีชื่อของเบียร์เยอรมันอย่าง FEDERBRAU ยังไม่แพร่หลายเท่ากับแบรนด์ดาวแดง จนต้องกลับมาทบทวนกลยุทธ์การตลาดกันอีกครั้ง
(Positioning Magazine 14 มีนาคม 2554)
เบียร์อาชาพลิกตำรารบลีโอ สลัดภาพ เบียร์ “จนและถูก” สู่ตลาดวัยรุ่นหัดดื่ม
หลังจากทุ่มลงทุนรีแบรนด์ เบียร์ช้าง มาสู่ไลฟ์สไตล์คนรุ่นใหม่ ล่าสุดไทยเบฟฯ เปิดแนวรบอีกด้าน ส่งเบียร์อาชาท้าชนเบียร์ลีโอ โดยอาศัยจังหวะผู้บริโภคเทรดดาวน์หันมาดื่มเบียร์อีโคโนมี่มากขึ้น ปรับภาพลักษณ์เบียร์อาชา เข้าหากลุ่มวัยรุ่นเริ่มดื่มเบียร์ ก้าวขึ้นชิงส่วนแบ่งเป็นเบอร์ 3
(Positioning Magazine กุมภาพันธ์ 2554)
รีเฟรชแบรนด์แก่ ให้กระชุ่มกระชวย
แบรนด์สูงวัย และไร้ตัวตนในโลกออนไลน์ ใช่ว่าจะแก่แล้วแก่เลย สามารถทำให้แบรนด์กระชุ่มกระชวยได้ด้วย ”การคิด” เหมือนอย่าง Case Study ของ Guinness
(Positioning Magazine กุมภาพันธ์ 2554)
บิ๊กแบรนด์บุกโซเชี่ยลมีเดียช้อปกระจาย
ขายผ่านโซเชี่ยลมีเดีย คือเทรนด์ใหม่ที่มาแรง โดยเฉพาะแบรนด์ใหญ่กำลังเดินเข้ามาใช้กลยุทธ์นี้กันเต็มที่ อย่างล่าสุดแบรนด์เบียร์จากเมืองฮอลแลนด์ ”ไฮเนเก้น” ก็ลุกขึ้นมาเปิดร้านขายเสื้อผ้าและของที่ระลึกผ่านเฟซบุ๊กสโตร์
(Positioning Magazine มกราคม 2554)
ลานเบียร์ ลานโชว์ Pop up Pub สิงห์ปะทะ Ambience ลานช้าง
หมดยุคเหล้าพ่วงเบียร์ สู่ยุคผูกขาดด้วยศิลปินดัง เป็นหมัดเด็ดจาก “ค่ายเบียร์ช้าง” ใช้ต่อกรกับ “ค่ายเบียร์สิงห์” ของกลุ่มบุญรอดที่กำลังหันไปเอาดีกับสปอร์ตมาร์เก็ตติ้ง ทำเอาลานเบียร์วันนี้จึงคึกคักไปด้วยคอนเสิร์ตจากศิลปินดัง สถานที่ต้องตกแต่งให้โดนใจคนรุ่นใหม่ หากสำเร็จ งานนี้ค่ายช้างมีสิทธิ์ผูกยาวถึงผับ บาร์ ร้านอาหารในอนาคต
(Positioning Magazine ธันวาคม 2553)
วิสกี้-ไวท์ สปิริต แข่งที่ “คอนเซ็ปต์”
ดนตรีกับเครื่องดื่มเป็นของคู่กัน ค่ายวิสกี้ และไวท์สปิริต ก็ใช้ Music Marketing เป็นเครื่องมือ ค่ายวิสกี้ ที่เลือกใช้ Music Marketing มาโดยตลอด ถ้าเป็นแบรนด์ที่มีฐานลูกค้ากว้าง และเป็นที่รู้จัก มักจะจัดงานใหญ่
(Positioning Magazine ธันวาคม 2553)
ไฮเนเก้น ลดไซส์ เหลืองานเล็ก
ไฮเนเก้นเอง เป็นอีกแบรนด์ที่กำลังพยายามขยับความสัมพันธ์ที่ดีกับบรรดา Outlet เหล่านี้อย่างขะมักเขม้น เพราะที่แล้วมาไฮเนเก้น ประสบความยากลำบากในการทำตลาด เป็นผลมาจากการปรับตัวรับกับกฎระเบียบคุมเข้มโฆษณาแอลกอฮอล์ไม่ทัน ไม่เหมือนกับเบียร์ท้องถิ่น สิงห์ และช้าง
(Positioning Magazine ธันวาคม 2553)
หมดยุคเหล้าพ่วงเบียร์ สู่ยุคผูกขาดด้วยศิลปิน
การที่ค่ายช้างหันมาเลือกใช้ Music Marketing เป็นอาวุธหลักในเวลานี้ น่าจะมาจากการประเมินแล้วว่า สามารถต่อกรกับค่ายสิงห์ที่กำลังมาแรงด้วยสปอร์ตมาร์เก็ตติ้ง เบียร์ช้างยอมรับว่า การนำศิลปินไปตระเวนแสดงคอนเสิร์ตตามผับ บาร์ ร้านอาหารทั่วประเทศ เป็น Trade Promotion ที่ได้ผลดี
(Positioning Magazine ธันวาคม 2553)
ม้าเต้นระบำ
การทำตลาดเบียร์อาชาจะแตกต่างจากเบียร์ช้างชัดเจน เพราะไม่อยากให้ไปแย่งตลาดของเบียร้าง ดังนั้นเราจึงโฟกัสไปที่กลุ่มคนรุ่นใหม่อายุ 22 – 30 ปี ที่เริ่มดื่มเบียร์เป็นครั้งแรก ซึ่งไลฟ์สไตล์ของคนกลุ่มนี้ส่วนใหญ่ พวกเขาคลุกคลีอยู่กับดนตรีมากถึง 80%
(Positioning Magazine พฤศจิกายน 2553)